
หุ่นฝึกทำคลอด และปฐมพยาบาลฉุกเฉิน
รหัสสินค้า / หมวดหมู่
หุ่นฝึกทำคลอด และปฐมพยาบาลฉุกเฉิน
รายละเอียดสินค้า
หุ่นฝึกหัดสำหรับการทำหัตถการทำคลอด GD/F 56
หุ่นจำลองนี้พัฒนามาจาก รุ่น GDF5 ซึ่งระบบนี้ได้รับการพัฒนามาจากหลักสูตรการฝึกปฏิบัติ ระดับมาตรฐานจากผู้คณะทำงานล่าสุด ผู้ใช้งานควรมีความสามารถฉพาะด้านนรีเวชศาสตร์ และ สูติศาสตร์ ซึ่งประกอบไปด้วย วิชาต่างๆ เช่น นรีเวชศาตร์ สูดิศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ การ ปฏิบัติการฉุกเฉิน และการพยาบาล โดยแบ่งออกเป็น ระบบช่วงระหว่างการคลอดลูก และช่วงทารกแรกเกิด
การเรียนรู้ครอบคลุมถึง 2 ระบบใหญ่ๆ คือ การปฐมพยาบาลการคลอดเบื้องต้นและการดูแลปฐม พยาบาลหลังคลอด และการกู้ชีพทารก และมารดาขั้นพื้นฐาน การกู้ชีพขั้นสูง ซึ่งรวมไปถึงภาวะ คลอดยากเช่น การคลอดปกติสายรกพันคอทารก การคลอดผิดท่า ภาวะครรภ์เป็นพิษ การผ่าคลอด ภาวะสายสะดือย้อย การคลอดก่อนกำหนด และ การตกเลือด ก่อน ระหว่าง หรือหลังคลอดซ ซึ่งเป็น เหตุให้เจ้าหน้าที่สูตินารีต้องระบุเป็นระยะๆ และวิเคราะห์ภาวะการคลอดที่ผิดปกติ และแกปัญหาที่เกิดขึ้น
โปรแกรมซอฟแวร์นี้สามารถปรัปแก้ไขเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ด้วยตัวเอง โดยสามารถจำลองสถานการณ์เหตุการณ์ทางคลีนิคที่เสมือนจริง ผู้ฝึกสามารถวินิจฉัยและฝึกการทำงานเป็นทีมในการทำคลอด และภาวะฉุกเฉินได้
ระบบปฎิบัติการ
1. Gravida manikin (หุ่นสำหรับฝึกการทำคลอด และการปฐมพยาบาลผู้ใหญ่)
2. Neonatal manikin (หุ่นทารกแรกเกิดสำหรับฝึกการปฐมพยาบาลและการพยาบาล)
3. Fetal manikin (หุ่นทารกในครรภ์เพื่อฝึกการคลอด)
4. อุปกรณ์อื่นๆ
I) ฟังก์ชั่นหลักๆของหุ่น Gravida การปฏิบัติการฉุกเฉิน
1. ฝึกการเปิดทางเดินหายใจโดยการฝึกท่อช่วยหายใจทางปากและการแสดงตำแหน่งท่อบน คอมพิวเตอร์
2. ฝึกการเจาะเลือด: การให้เลือดทางหลอดเลือดดำ ถ่ายเลือดดำทางแขน การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง deltoid การฝึกฉีดยาเขากล้ามเนื้อต้นขา และกล้ามเนื้อต้นแขน (deltoid)
3. ฝึกการจำลองการให้ยา ซึ่งสามารถให้ยาได้หลายวิธี ซึ่งสามารถให้ยาได้หลายทาง สามารถบันทึกผู้ใช้งาน ปรับเปลี่ยนตัวยา และบันทึกผลข้างเคียงของยา
4. ฝึกการกู้ชีพ (CPR) หนาอกกระเพื่อมจากการเป่าปาก คอมพิวเตอร์สามารถทราบตำแหน่ง ในการกดหนาอกได้ทราบระดบความลึกของการกด และปริมาตรของลมที่เป่าโดยแสดง ข้อมูล real time และสามารถแสดงผลหลงจากที่ปฎิบัติการสิ้นสุด แต่ละบุคคลสามารถที่ จะฝึกได้ หรือสามารถที่จะฝึกได้หลายๆคนพร้อมๆกัน มีเสียงพูดภาษาอังกฤษได้การปฎิบตัิการ
5. สามารถฝึกการกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า และการใชเครื่องกระตุนหัวใจ (pace maker) สามารถจาจําลองกระตุกหัวใจสามารถเลือกระดับพลังงานได้ โดยระดับพลังงานสูงสุด 360 J
การจําลองสัญญาณชีพ
1. สามารถสงเกตการณ์ การเปลี่ยนแปลงของ UC และการเตนของหัวใจของทารกในครรภ์ (FHR)
2. จาลองสถานการณ์ของมารดาที่ต้ งครรภ์ได์ ไม่วาจะเป็นเสียงครวญ เสียงอาเจียน และไอ และการหายใจตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นจริงในหองคลอด
3. จำลองการเต้นของ Carotid (เส้นเลือดแดงใหญ่ที่ไปเลี้ยงสมอง) และการจาลองกั้นขวางทางเดินหายใจ
4. จำลองเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ สามารถปรับอัตราการเต้นของหัวใจ
5. จำลองการบีบตัวของมดลูก
6. จำลองการหายใจ ทั้งทางจมูกและทางปาก
7. จำลองรูปแบบการหายใจแบบต่างๆ
เครื่องแสดงคลื่นไฟฟาห้วใจ (ECG) : สามารถแสดง ค่าออกซิเจนเข้มข้นปลายนิ้วได้ สามารถแสดงคลื่นไฟฟาห้วใจได้ โดยเชื่อมโยงกับ เครื่อง GD/J115 ซึ่งแสดงคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบต่างๆ เครื่อง ECG monitor มี 12 lead electrocardiogram มีค่าออกซิ เจนเข้มข้น มีค่า Co2 มีค่าความดันั มีค่า Central venous pressure มีคา pulmonary arterial pressure มี cardiac output เป็นต้น
จำลองขบวนการทำงหมดตั้งแต่ช่วงทคลอดจนถึงหลังคลอด
1. Type – B Ultrasonic testing: มีรูปภาพอลตร้าซาวน์ต่างๆ เพื่อได้เห็นทารกในครรภ์และดูว่าทารกปกติหรือไม่
2. การคลอด: แสดงให้เห็นขบวนการคลอด กลไกการคลอด left occiput anterior with spontaneous US, engagement, descending, flexion, internatl rotation, extension, restoration, external rotation, fetal shoulder and fetal delivery. ความเร็วในการคลอดสามารถปรับ ได้จากวิธีการสอน มี air pump สาหรับกระตุ้น UC ด้วยระดับความแรง และ ระยะเวลาที่ต่างกัน จำลองการคลอด มีการบีบตวของมดลูก ช่วงแรกของการคลอด ศีรษะ ลูกออกมาระหว่าง UC หลังจากคอมดลูกขยายตัวสูงสุด ช่วงที่สองของการคลอดก็เริ่มต้น
3. ต่ำแหน่งที่ลดลงจากศีรษะของ ทารกในครรภ์ จะถูกควบคุมโดยซอฟต์แวร์ การเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก และช่องคลอดสมพันธ์กับการเคลื่อนลงต่ำของศรีษะของ ทารก และการขยายตัวของคอมดลูก
4. จำลองสถานการณ์การคลอดปกติ การคลอดโดยใชก้นออก การคลอดติดไหล่ คลอดยาก
5. มีวิธีการ 4 แบบ ในการแก้ปัญหาการคลอดยาก ติดไหล่ คือ McRobert’s maneuver, suprabupib pressurization, shoulder rotation, knee-elbow supine position หรือใช้ หลายๆวิธีรวมกัน
6. มีอุปกรณ์ Soft pad เพื่อใช้ปัฏิบัติ Leopold maneuver
7. แสดงความสัมพันธ์ ของช่องคลอดและการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก ก่อนคลอด
ขั้นที่ 1 – ปากมดลูกยังไม่เปลี่ยนแปลง ยังพบ cervical canal อยู่ต่ำแหน่งที่สมพันธ์ ระหว่างหัวของทารกและ ischial spine ที่ตำแหน่ง -5
ขั้นที่ 2 – ปากมดลูกขยาย 2 เซนติเมตร cervical canal หายไป 50% ตำแหน่งที่สัมพันธ์ระหว่างหัวของทารกและ ischial spine ที่ตำแหน่ง -4
ขั้นที่ 3 – ปากมดลูกขยาย 4 เซนติเมตร ไม่พบ cervical canal ตำแหน่งที่สัมพันธ์ ระหว่างหัวของทารกและ ischial spine ที่ตำแหน่ง -3
ขั้นที่ 4 – ปากมดลูกขยาย 5 เซนติเมตร ไม่พบ cervical canal ตำแหน่งที่สัมพันธ์ ระหว่างหัวของทารกและ ischial spine ที่ตำแหน่ง 0
ขั้นที่ 5 – ปากมดลูกขยาย 7 เซนติเมตร ไม่พบ cervical canal ตำแหน่งที่สัมพันธ์ ระหว่างหัวของทารก ischial spine ที่ตำแหน่ง +2
ขั้นที่ 6 – ปากมดลูกขยาย 10 เซนติเมตร ไม่พบ cervical canal ตำแหน่งที่สัมพันธ์ ระหว่างหัวของทารก ischial spine ที่ตำแหน่ง +5 8. สามารถจำลองตำาแหน่งของรกได้
9. มีช่องคลอดจำลองเพื่อฝึกเย็บ มีตำแหน่งซ้ายล่าง กลางและขวาล่าง
10. การนวดมดลูกหลังคลอด 48 ชั่วโมงและภาวการณ์ตกเลือด
11. ฝึกการดูแลหลังคลอด การพนตัวเด็ก การหวีผม การทำความสะอาด เป็นต้น
II) รายละเอียดหุ่นทารกแรกคลอด
1. การฝึกแทงเส้น : Neonatal scalp และ Arm venous จะมีเสียง “pop” และมีเลือดไหลย้อนทำให้ทราบว่าแทงเข้าไปในเส้นแล้ว 2. ฝึกการพยาบาลเบื้องต้น เช่นล้างตา หยอดตา อาบน้ำทารกแรกคลอด และการพันตัวทารก
3. ฝึกทาการฟื้นคืนชีพทารกแรกคลอด (CPR)
4. ฝึกการสอดท่อช่วยหายใจทางปากและทางจมูกดูดเสมหะ และการล้างกระเพาะอาหาร
5. การพยาบาลสายสะดือ
6. สามารถฝึกการช่วยหายใจโดย หลายวิธีเช่น
– mouth to mouth ปากต่อปาก
– mouth to nose ปากต่อจมูก
– bag-valve-mouth to mouth แบ็คกับปาก
-สามารถทำ artificial respiration ได้
-สามารถทำ external compression ได้
7. สามารถสร้างรูปแบบการหายใจได้
8. สามารถนวดหัวใจได้
